Responsive image
เมนูหลัก
หน้าหลัก
เกี่ยวกับจังหวัด
ประวัติความเป็นมา
สภาพภูมิศาสตร์
สภาพสังคม
สภาพทางเศรษฐกิจ
สินค้า OTOP
สถานที่สำคัญ/แหล่งท่องเที่ยว
เกี่ยวกับเรา
วิสัยทัศน์/พันธกิจ
ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา
โครงสร้างส่วนราชการ
บทบาทหน้าที่
บุคลากร
ผู้บริหาร
ฝ่ายบริหารทั่วไป
กลุ่มงานมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
กลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น
กลุ่มงานกฎหมายระเบียบและเรื่องร้องทุกข์
กลุ่มงานการเงินบัญชีและการตรวจสอบ
บุคลากรท้องถิ่นอำเภอ
กลุ่มงานบริการสาธารณะท้องถิ่นและประสานงานท้องถิ่นอำเภอ
ท้องถิ่นอำเภอ
ข่าวสาร
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ข่าวกิจกรรม
ปฏิทินกิจกรรม
ศูนย์บริการข้อมูลข่าวสาร
ITA อปท.
ITA ปี พ.ศ. 2563
ข่าวสารเครือข่าย
ข่าวประชาสัมพันธ์เครือข่าย
ข่าวกิจกรรมเครือข่าย
ปฏิทินกิจกรรมเครือข่าย
ข่าวรับสมัครโอน/ย้ายเครือข่าย
สินค้า OTOP เครือข่าย
หนังสือราชการ สถ.จ.
ระเบียบ กฎหมาย หนังสือสั่งการ
หนังสือสั่งการ สถ.
พ.ร.บ./พ.ร.ฎ.
กฎ/ระเบียบ
คำสั่ง สถ.
มติ ก.อบจ.
มติ ก.เทศบาล
มติ ก. อบต.
ข้อบัญญัติ
รายรับรายจ่าย อปท.
มติ ก.จังหวัดอุดรธานี
มติ ก.จ.จ.อุดรธานี
มติ ก.ท.จ.อุดรธานี
มติ ก.อบต.จังหวัดอุดรธานี
เว็บบอร์ด
พูดคุยเรื่องทั่วไป
ข้อเสนอแนะ ติชม
รับเรื่องราวร้องทุกข์
เว็บบอร์ดเครือข่าย
ติดต่อเรา
ติดต่อเรา
ระบบบัญชีข้อมูลจังหวัด






หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สถานที่สำคัญ/แหล่งท่องเที่ยว
วัดป่าคำชะโนด อำเภอบ้านดุง
Responsive image
คำชะโนด ตำนานกล่าวว่า เมืองคำชะโนดนี้ได้เล่าขานสืบต่อกันมารุ่นแล้วรุ่นเล่า จนถึงปัจจุบัน เมืองคำชะโนดตั้งอยู่ทิศตะวันออกเฉียงเหนือของตัวเมืองอำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ปัจจุบันอยู่ในเขตพื้นที่บ้านโนนเมืองหมู่ที่ 11 ตำบลบ้านม่วง อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ซึ่งได้มีผู้คนย้ายถิ่นที่อยู่มาอาศัยเดิม เดินทางมาก่อสร้างครอบครัวที่บ้านโนนเมือง ระยะทางห่างจากอำเภอบ้านดุงประมาณ 21 กิโลเมตร พื้นที่รอบๆบริเวณเป็นแหล่งน้ำคลำ มีต้นไม้เกิดขึ้นภายในบริเวณเนื้อที่ประมาณ 20 ไร่ ต้นไม้ชนิดนี้เรียกว่าต้นชะโนด มีลักษณะพิเศษคล้ายต้นตาล แต่ขนาดลำต้นสูงยาวเรียวเล็กกว่าต้นตาล ขนาดก็พอๆกับต้นมะพร้าว ก้านใบจะมีหนามแหลมยาวคม ใบจะมีลักษณะคล้ายใบตาล เวลาต้องลมจะเกิดเสียงและวังเวง ต้นชะโนดมีผลเป็นพวงลูกเล็กเท่าพวงองุ่นเล็ก บริโภคไม่ได้ ถ้าบริโภคจะมีอาการคันปาก ต้นชะโนดเป็นพืชที่เกิดจากธรรมชาตินับเป็นเวลาหลายพันปีคนรุ่นเก่าก่อนได้เรียกพืชชนิดนี้สืบทอดกันมาเรียกว่า ต้นชะโนด และเชื่อว่าเมืองชะโนด สันนิษฐานว่าคงจะเรียกตามชื่อต้นชะโนด  สามารถมาท่องเที่ยวได้ทุกฤดูกาล
   
โพสเมื่อ : 08 ม.ค. 2566